วันเสาร์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2556

แบบฝึกหัดที่ 8

บทที่ 8 การใช้สารสนเทศตามกฏหมายและจริยธรรม

   ชื่อนายเศรษฐศิริ ศรีสุวอ รหัส 56010122594 กลุ่ม 1 รหัสวิชา 0026008


จงพิจารณากรณีศึกษานี้

1."นาย  A  ทำการเขียนโปรแกรมขึ้นมาโปรแกรมหนึ่งเพื่อทดลองโจมตีการทำงานของคอมพิวเตอร์สามารถใช้งานได้ โดยทำการระบุ IP - Address โปรแกรมนี้สร้างขึ้นมาเพื่อทดลองในงานวิจัย นาย B ที่เป็นเพื่อนสนิทของนาย A ได้นำโปรแกรมนี้ไปทดลองใช้แกล้งนางสาว C เมื่อนางสาว C ทราบเข้าก็เลยนำโปรแกรมนี้ไปใช้และส่งต่อให้เพื่อนๆ ที่รู้จักได้ทดลอง "
         การกระทำอย่างนี้เป็นการทำผิดจริยธรรม หรือผิดกฎหมายใดๆหรือไม่ หากไม่ผิดเพราะเหตุได และหากผิด ผิดในแง่ไหน จงอธิบาย

- ผิดจริยธรรม เพราะไม่ได้ทำการขออนุญาติอยากถูกกิจลักษณะ และเอาไปแกล้งคนอื่น โดยไม่เกิดประโยชน์ใดๆ อาจทำให้ผู้ที่เขียนโปรแกรมเสียหายได้ และผิดกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล 


2. “นาย J ได้ทำการสร้างโฮมเพจ เพื่อบอกว่าโลกแบนโดยมีหลักฐาน อ้างอิงจากตำราต่างๆ อีกทั้งรูปประกอบ เป็นการทำเพื่อความสนุกสนาน ไม่ได้ใช้ในการอ้างอิงทางวิชาการใดๆ เด็กชาย K เป็นนักเรียนในระดับประถมปลายที่ทำรายงานส่งครูเป็นการบ้านภาคฤดูร้อนโดยใช้ข้อมูลจากโฮมเพจของนาย J” การกระทำอย่างนี้เป็นการทำผิดจริยธรรมหรือผิดกฎหมายใดๆ หรือไม่ หากไม่ผิดเพราะเหตุใด และหากผิด ผิดในแง่ไหน จงอธิบาย

- ไม่ผิดเพราะถึงนาย J จะทำขึ้นเพื่อความสนุกสนาน แต่เขาก๋ได้ใช้ข้อมูลอ้งอิงที่มาจากตำรา ซึ่งเป็นความรู้ทั้งนั้น เหมาะสมที่จะนำมาเผยแพร่ เพื่อให้ความรู้แก่คนมากมายที่ต้องการ จึงไม่ผิด จริยธรรมและกฎหมาย 

แบบฝึกหัดที่ 7

บทที่ 7 ความปลอดภัยของสารสนเทศ

   ชื่อนายเศรษฐศิริ ศรีสุวอ รหัส 56010122594 กลุ่ม 1 รหัสวิชา 0026008


1.หน้าที่ของไฟร์วอลล์(Firewall)คือ … 

Firewall เป็นระบบรักษาความปลอดภัยของระบบคอมพิวเตอร์แบบหนึ่งที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย ซึ่งมีทั้งอุปกรณ์ Hardware และ Software โดยหน้าที่หลัก ๆ ของ Firewall นั้น จะทำหน้าที่ควบคุมการใช้งานระหว่างNetwork ต่าง ๆ (Access Control) โดย Firewall จะเป็นคนที่กำหนด ว่า ใคร (Source) , ไปที่ไหน (Destination) , ด้วยบริการอะไร (Service/Port)

2.จงอธิบายคำศัพท์ต่อไปนี้ ที่เกี่ยวข้องกับไวรัสคอมพิวเตอร์ worm,virus computer,spy ware,adware มาอย่างน้อย 1 โปรแกรม

โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นมา เพื่อก่อกวนทำลายระบบคอมพิวเตอร์ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลชุดคำสั่ง หรืออุปกรณ์ต่างๆ เช่น แผ่นดิสก์ ฮาร์ดดิสก์ หน่วยความจำคอมพิวเตอร์ และเป็นโปรแกรมที่สามารถกระจายจากคอมพิวเตอร์ตัวหนึ่ง ไปยังคอมพิวเตอร์อีกตัวหนึ่งได้โดยผ่านระบบสื่อสารคอมพิวเตอร์ เช่น โดยผ่านทาง แผ่นบันทึกข้อมูล (Diskette) หรือระบบเครือข่ายข้อมูล

3. ไวรัสคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็นกี่ชนิด อะไรบ้าง

- มี 6 ชนิด

1. บูตเซกเตอร์ไวรัส (Boot Sector Viruses) หรือ Boot Infector Viruses คือไวรัส
ที่เก็บตัวเองอยู่ในบูตเซกเตอร์ของดิสก์ การใช้งานของบูตเซกเตอร์ คือเมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์เริ่มทำงาน
ขึ้นมาครั้งแรก เครื่องจะเข้าไปอ่านบูตเซกเตอร์ โดยในบูตเซกเตอร์จะมีโปรแกรมเล็ก ๆ ไว้ใช้ในการเรียก
ระบบปฏิบัติการขึ้นมาทำงาน
การทำงานของบูตเซกเตอร์ไวรัสคือ จะเข้าไปแทนที่โปรแกรมที่อยู่ในบูตเซกเตอร์ โดยทั่วไปแล้วถ้าติดอยู่ในฮาร์ดดิสก์ จะเข้าไปอยู่บริเวณที่เรียกว่า Master Boot Sector หรือ Partition Table ของฮาร์ดดิสก์นั้น ถ้าบูตเซกเตอร์ของดิสก์ใดมีไวรัสประเภทนี้ติดอยู่ ทุก ๆ ครั้งที่บูตเครื่องขึ้นมา เมื่อมีการเรียนระบบปฏิบัติการ จากดิสก์นี้ โปรแกรมไวรัสจะทำงานก่อนและเข้าไปฝังตัวอยู่ในหน่วยค วามจำเพื่อเตรียมพร้อมที่จะทำงานตามที่ได้ถูกโปรแกรม มา ก่อนที่จะไปเรียนให้ระบบปฏิบัติการทำงานต่อไป ทำให้เหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น

2. โปรแกรมไวรัส (Program Viruses) หรือ File Intector Viruses เป็นไวรัสอีกประเภทหนึ่ง
ที่จะติดอยู่กับโปรแกรม ซึ่งปกติจะเป็นไฟล์ที่มีนามสกุลเป็น COM หรือ EXE และบางไวรัสสามารถเข้าไปอยู่ใน
โปรแกรมที่มีนามสกุลเป็น SYS ได้ด้วยการทำงานของไวรัสประเภทนี้ คือ เมื่อมีการเรียกโปรแกรมที่ติดไวรัส ส่วนของไวรัสจะทำงานก่อนและจะถือโอกาสนี้ฝังตัวเข้าไ ปอยู่ในหน่วยความจำทันทีแล้วจึงค่อยให้โปรแกรมนั้นทำ งานตามปกติ เมื่อฝังตัวอยู่ในหน่วยความจำแล้วหลังจากนี้หากมีการ เรียกโปรแกรมอื่น ๆ ขึ้นมาทำงานต่อ ตัวไวรัสจะสำเนาตัวเองเข้าไปในโปรแกรมเหล่านี้ทันที เป็นการแพร่ระบาดต่อไป
นอกจากนี้ไวรัสนี้ยังมีวิธีการแพร่ระบาดอีกคือ เมื่อมีการเรียกโปรแกรมที่มีไวรัสติดอยู่ ตัวไวรัสจะเข้าไปหา โปรแกรมอื่น ๆ ที่อยู่ติดเพื่อทำสำเนาตัวเองลงไปทันที แล้วจึงค่อยให้โปรแกรมที่ถูกเรียกนั้นทำงานตามปกติต่ อไป

3. ม้าโทรจัน (Trojan Horse) เป็นโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นมาให้ทำตัวเหมือนว่าเป็นโ ปรแกรมธรรมดา ทั่ว ๆ ไป เพื่อหลอกล่อผู้ใช้ให้ทำการเรียนขึ้นมาทำงาน แต่เมื่อถูกเรียกขึ้นมา ก็จะเริ่มทำลายตามที่โปรแกรมมาทันที ม้าโทรจันบางตัวถูกเขียนขึ้นมาใหม่ทั้งชุด โดยคนเขียนจะทำการตั้งชื่อโปรแกรมพร้อมชื่อรุ่นและคำ อธิบาย การใช้งาน ที่ดูสมจริง เพื่อหลอกให้คนที่จะเรียกใช้ตายใจ
จุดประสงค์ของคนเขียนม้าโทรจันคือเข้าไปทำอันตรายต่อ ข้อมูลที่มีอยู่ในเครื่อง หรืออาจมีจุดประสงค์เพื่อที่จะล้วง เอาความลับของระบบคอมพิวเตอร์ ม้าโทรจันถือว่าไม่ใช่ไวรัส เพราะเป็นโปรแกรมที่ถูกเขียนขึ้นมาโดด ๆ และจะไม่มีการ
เข้าไปติดในโปรแกรมอื่นเพื่อสำเนาตัวเอง แต่จะใช้ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ของผู้ใช้ เป็นตัวแพร่ระบาดซอฟต์แวร์ที่มี ม้าโทรจันอยู่ในนั้นและนับว่าเป็นหนึ่งในประเภทของโป รแกรมที่มีความอันตรายสูง เพราะยากที่จะตรวจสอบและ สร้างขึ้นมาได้ง่าย ซึ่งอาจใช้แค่แบต์ไฟล์ก็สามารถโปรแกรมม้าโทรจันได้

4. โพลีมอร์ฟิกไวรัส (Polymorphic Viruses) เป็นชื่อที่ใช้เรียกไวรัสที่มีความสามารถในการแปรเปล ี่ยนตัวเอง ได้เมื่อมีการสร้างสำเนาตัวเองเกิดขึ้น ซึ่งอาจได้ถึงหลายร้อยรูปแบบ ผลก็คือ ทำให้ไวรัสเหล่านี้ยากต่อการถูกตรวจจัดโดยโปรแกรมตรว จหาไวรัสที่ใช้วิธีการสแกนอย่างเดียว ไวรัสใหม่ ๆ ในปัจจุบันที่มีความสามารถนี้เริ่มมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ

5. สทิลต์ไวรัส (Stealth Viruses) เป็นชื่อเรียกไวรัสที่มีความสามารถในการพรางตัวต่อกา รตรวจจับได้ เช่น ไฟล์อินเฟกเตอร์ ไวรัสประเภทที่ไปติดโปรแกรม ใดแล้วจะทำให้ขนาดของ โปรแกรมนั้นใหญ่ขึ้น ถ้าโปรแกรมไวรัสนั้นเป็นแบบสทิสต์ไวรัส จะไม่สามารถตรวจดูขนาดที่แท้จริงของโปรแกรมที่เพิ่มขึ้นได้
เนื่องจากตัวไวรัสจะเข้าไปควบคุมดอส เมื่อมีการใช้คำสั่ง DIR หรือโปรแกรมใดก็ตามเพื่อตรวจดูขนาดของโปรแกรม ดอสก็จะแสดงขนาดเหมือนเดิม ทุกอย่างราวกับว่าไม่มีอะไรเกิดขึ้น

6. Macro viruses จะติดต่อกับไฟล์ซึ่งใช้เป็นต้นแบบ (template) ในการสร้างเอกสาร (documentsหรือ spreadsheet) หลังจากที่ต้นแบบในการใช้สร้างเอกสาร ติดไวรัสแล้ว ทุก ๆ เอกสารที่เปิดขึ้นใช้ด้วยต้นแบบอันนั้นจะเกิดความเสียหายขึ้น

5.มาตรการด้านจริยธรรมคอมพิวเตอร์ที่ควบคุมการใช้อินเทอร์เน็ตที่เหมาะสมกับสังคมปัจจุบัน ได้แก่

  • กฏหมายการแลกเปลี่ยนข้อมูงทางอิเล็กทอนิกส์
  • กฏหมายลายมือชื่ออิเล็กทอนิกส์
  • กฏหมายการโอนเงินทางอิเล็กทอนิกส์
  • กฏหมายโทลคมนาคม
  • กฏหมายระหว่างประเทศ
  • กฏหมายืั้เกี่ยวเนื่องกับระบบอินเตอร์เน็ต

แบบฝึกหัดที่ 6

                                                         บทที่ 6 การประยุกต์ใช้สารสนเทศในชีวิตประจำวัน

 ชื่อนายเศรษฐศิริ ศรีสุวอ รหัส 56010122594 กลุ่ม 1 รหัสวิชา 0026008



1.การประยุกต์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิดประโยชน์เป็นความหมายของข้อใด
ก.เทคโนโลยีสารสนเทศ
2.เทคโนโลยีสารสนเทศใดก่อให้เกิดผลด้านการเสริมสร้างความเท่าเทียมกันในสังคม
ข.ระบบการเรียนการสอนทางไกล
3.การฝากถอนเงินผ่านเอทีเอ็ม(ATM)เป็นลักษณะเด่นของเทคโนโลยีสารสนเทศข้อใด
ค.เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการดำเนินการในหน่วยงานต่างๆ
4.ข้อใดคือการประยุกต์ใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ง.ถูกทุกข้อ
5.เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึงข้อใด
ก.การประยุกต์เอาความรู้มาทำให้เกิดประโยชน์ต่อมวลมนุษย์
6.เครื่องมือที่สำคัญในการจัดการสารสนเทศในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศคืออะไร
ง.ถูกทุกข้อ
7.ข้อใดไม่ใช่บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ง.เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้มีการสร้างที่พักอาศัยที่มีคุณภาพ
8.ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์ที่ช่วยงานด้านสารสนเทศ
ง.โทรทัศน์ วิทยุ
9.ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ค.ไม่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
10.ข้อใดคือประโยชน์ที่ได้จากการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้กับการเรียน
ง.ถูกทุกข้อ

แบบฝึกหัดที่ 5

บทที่ 5 การจัดการสารสนเทศ

   ชื่อนายเศรษฐศิริ ศรีสุวอ รหัส 56010122594 กลุ่ม 1 รหัสวิชา 0026008



1. ความหมายการจัดการสารสนเทศ

- การจัดการสารสนเทศ หมายถึง การทำกิจกรรมหลัก ต่างๆ ในการจัดหา การจัดโครงสร้าง (organization) การควบคุม ผลิต การเผยแพร่และการใช้สารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานขององค์การทุกประเภทอย่างมีประสิทธิผล ซึ่งสารสนเทศในที่นี้หมายถึงสารสนเทศทุกประเภทที่มีคุณค่าไม่ว่าจะมีแหล่งกำเนิดจากภายในหรือภายนอกองค์การ

2.การจัดการสารสนเทศมีความสำคัญต่อบุคคลและต่อองค์การอย่างไร

- การจัดการสารสนเทศมีความสำคัญต่อบุคคลในด้านการดำรงชีวิตประจำวันการศึกษาและการทำงานประกอบอาชีพต่างๆ
- การจัดการสารสนเทศมีความสำคัญต่อองค์การในด้านการบริหารจัดการ การดำเนินงาน และกฎหมาย ดังนี้
  1.  ความสำคัญด้านการบริหารจัดการ
  2.  ความสำคัญด้านการดำเนินงาน
  3.  ความสำคัญด้านกฎหมาย
3. พัฒนาการของการจัดการสารสนเทศแบ่งออกเป็นกี่ยุค อะไรบ้าง

- แบ่งออกเป็น 2 ยุค  คือ
- การจัดการสารสนเทศด้วยระบบมือ
- การจัดการสารสนเทศโดยใช้คอมพิวเตอร์
4.จงยกตัวอย่างการจัดการสารสนเทศที่นิสิตใช้ในชีวิตประจำวันมาอย่างน้อย3ตัวอย่าง
     1. การศึกษา
     2. การหาข้อมูลข่าวสาร
     3. การเผยแพร่ข้อมูล

แบบฝึกหัดที่ 4

บทที่ 4 เทคโนโลยีสารสนเทศ

   ชื่อนายเศรษฐศิริ ศรีสุวอ รหัส 56010122594 กลุ่ม 1 รหัสวิชา 0026008


1.ให้นิสิตยกตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศตามหัวข้อต่อไปนี้ อย่างน้อยหัวข้อละ ชนิด

1  การบันทึกและจัดเก็บข้อมูล
  • ดาวเทียวถ่ายภาพทางอากาศ  
  • กล้องดิจิทัลกล้องถ่ายวีดีทัศน์ 
  • เครื่องเอกซเรย์
2  การแสดงผล
  •  เครื่องพิมพ์ 
  •  จอภาพ 
  •  พลอตเตอร์
3  การประมวลผล
  •  ฮาร์ดแวร์
  •   ซอฟต์แวร์
  •   OS
4  การสื่อสารและเครือข่าย 
  • การประชุมผ่านทางจอภาพ
  • ไปรษณีย์ภาพ
  •  อินเตอร์เน็ต

2.ให้นิสิตนำตัวเลขในช่องขวา มาเติมหน้าข้อความในช่องซ้ายที่มีความสัมพันธ์กัน


 8  ซอฟต์แวร์ประยุกต์
1. ส่วนใหญ่ทำหน้าที่คำนวณประมวลผลข้อมูล
 3  Information  Technology
2. e-Revenue
 1  คอมพิวเตอร์ในยุคประมวลผลข้อมูล
3. เทคโนโลยีต่างๆที่นำมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินการเกี่ยวกับสารสนเทศ  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ  ความถูกต้องแม่นยำ  และความรวดเร็วต่อการนำไปใช้
 6  เทคโนโลยีสารสนเทศประกอบด้วย
4. มีองค์ประกอบพื้นฐาน  3  ส่วน  ได้แก่  Sender  Medium  และ Decoder
 10 ช่วยผลผลิต เพิ่มต้นทุน และเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน
5. การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการรับส่ง-ส่งเอกสารจากหน่วยงานหนึ่งไปยังอีกหน่วยงานหนึ่งโดยส่งผ่านเครือข่าย
 7  ซอฟต์แวร์ระบบ
6. เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์  เทคโนโลยีการสื่อวารโทรคมนาคมและเทคโนโลยีอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
 9  การนำเสนอบทเรียนในรูปมัลติมิเดีย
ที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตัวเองได้ตามระดับความสามารถ
7. โปรแกรมที่ทำหน้าที่ใช้ควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ ภายในระบบคอมพิวเตอร์
 5  EDI
8. โปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ  จัดเป็นซอฟต์แวร์ประเภท
 4  การสื่อสารโทรคมนาคม
9. CAL
 2  บริการชำระภาษีออนไลน์
10. ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

แบบฝึกหัดที่ 3

บทที่ 3 การรู้สารสนเทศ   

   ชื่อนายเศรษฐศิริ ศรีสุวอ รหัส 56010122594 กลุ่ม 1 รหัสวิชา 0026008


1.ข้อใดเป็นความหมายที่ถูกต้องที่สุดของการรูสาสนเทศ
ตอบ ง.ความสามารถของบุคคลในการเข้าถึง ประเมิน และการใช้งานสารสนเทศ

2.จากกระบวนการของการรู้สารสนเทศ ทั้ง 5 ประการ ประการไหนสำคัญสุด
ตอบ ก.ความสามารถในการตระหนัว่าเมื่อใดจึงจะต้องการสารสนเทศ

3.ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของผู้รู้สารสนเทศ
ตอบ ค.ชอบใช้คอมพิวเตอร์ในการเล่นเกม

4.ข้อใดไม่ใช่ความสำคัญของการรู้สาสนเทศ
ตอบ ก.โลกมีการเปลี่ยนแปลงเร็วมาก โดยเน้นวัตถุนิยมมากขึ้น

5.ข้อใดเป็นการเรียงลำดับขั้นตอนของกระบวนการเรียนรู้สารสนเทศที่ถูกต้อง
ตอบ ค.5-4-1-2-3

แบบฝึกหัดที่ 2


บทที่ 2 บทบาทสาสนเทศกับสังคม 

         ชื่อนายเศรษฐศิริ ศรีสุวอ รหัส 56010122594 กลุ่ม 1 รหัสวิชา 0026008



  
1. ให้นิสิตหารายชื่อเว็บไซต์หรือเทคโนโลยีที่ให้บริการต่างๆ  ตามหัวข้อเหล่านีมาอย่างละ 3 รายการ


 1.1  การปรยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาการศึกษา
       http://www.kku.ac.th/
      http://www.msu.ac.th/
      http://www.mcu.ac.th/


1.2  การปรยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพ พาณิชย์ และสำนักงาน
         http://www.themallratchasima.com/
       http://www.bigc.co.th/
       http://www.tescolotus.net/

1.3  การปรยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพสื่อสารมวลชน
       http://www.ch7.com/
     http://www.thaitv3.com/
     http://www.tv5.co.th/

1.4  การปรยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพทางอุตสาหกรรม
      http://www.gunzahonda.blogspot.com/
     http://www.korachindustry.co.th/
     http://www.ats.or.th/

1.5  การปรยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพทางการเพทย์
      http://www.bangkokhospital.com/
     http://www.pmkmedicine.com/
     http://www.mnrh.go.th/

1.6  การปรยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพทหารตำรวจ
      http://www.rtarf.mi.th/index_new.html/
     http://swc.rta.mi.th/index11.htm/
     http://mrdc.dstd.mi.th/index2.html/

1.7  การปรยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพวิศวกรรม
      http://www.tsae.asia/
     http://www.eeat.or.th/
     http://www.eit.or.th/

1.8  การปรยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในวิชาชีพด้านการเกษตร
      http://www.doa.go.th/
     http://www.moac.go.th/
     http://www.ricethailand.go.th/

1.9  การปรยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับคนพิการต่างๆ
      http://www.apht-th.org/
     http://www.special.obec.go.th/
     http://www.baanphrapradaeng.com/

2. มหาวิทยาลัยมหาสารคามเตรียมเทคโนโลยีสารสนเทศด้านการศึกษาให้กับท่าน มีอะไรบ้าง บอกมาอย่างน้อย 3 อย่าง


- การให้บริการตรวจสอบสถานะการศึกษาผ่านอินเตอร์เน็ต
- การยืมคืนส่งหนังสือผ่านอินเตอร์เน็ต
- มีบริการหนังสือออนไลน์

3. ข้อ 2 จงวิเคราะห์ว่าท่านจะเอาเทคโนโลยีเหล่านั้น มาทำให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองอย่างไรบ้าง


- สามารถ Download เอกสารงานวิจัย วิทยานิพนธ์ฟรี  ได้จาก   http://tdc.thailis.or.th/tdc/
- สามารถลงทะเบียนเรียน ตรวจสอบข้อมูลการศึกษา ได้จาก  http://reg.msu.ac.th/
- สามารถติดตามข่าวสารจากทางมหาวิทยาลัย และดูรายละเอียดต่างๆในหลักสูตร  ได้จาก http://www.msu.ac.th/

แบบฝึกหัดที่ 1

แบบฝึกหัดบทที่ 1
ชื่อนายเศรษฐศิริ ศรีสุวอ รหัส 56010122594 กลุ่ม 1 รหัสวิชา 0026008

1. ข้อมูลหมายถึง
ตอบ ข้อเท็จจริง หรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆ
เช่น คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ โดยอยู่ในรูปแบบที่ เหมาะสมต่อการสื่อสาร การแปลความหมายและการประมวลผล

2. ข้อมูลปฐมภูมิคือ
ตอบ ข้อมูลที่ได้มากจากต้นแหล่งโดยตรง
เช่น การสัมภาษณ์ส่วนบุคคล

3. ข้อมูลทุติยภูมิคือ
ตอบ ข้อมูลที่ผู้ใช้นำมาจากหน่วยงานอื่น หรือผู้อื่นที่ได้ทำการเก็บรวบรวมมาแล้วในอดีต เช่น สื่ออ้างอิงประเภทต่างๆ

4.สารสนเทศหมายถึง
ตอบ  ข้อมลู ข่าวสาร ที่ได้ทีการจัดการไม่ว่าจะเป็นการคิดคำนวณ ประมวลเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์ ได้มีการคัดเลือกสรรและนำไปใช้ให้ทันต่อความต้องการในการใช้งาน และทันเวลา


5.จงอธิบายประเภทของสารสนเทศ
  ตอบ  1.สารสนเทศที่เชื่อถือได้ เช่น ข้อเท็จจริง สถิติ ตัวเลข ที่นำเสนออย่างเป็นทางการ สามารถนำไปใช้ประโยชน์สำหรับการตัดสินใจและการวางแผนได้
           2.สารสนเทศที่เชื่อถือได้น้อย เช่น ความคิดเห็น สามัญสำนึก ความรู้ทั่วไปที่นำเสนออย่างไม่เป็นทางการ 

6.ข้อเท็จจริงของสิ่งต่างๆที่อาจเกิดเป็นตัวเลขข้อความรูปภาพเสียงคือ
ตอบ  ข้อมูลเชิงคุณภาพ  


 

7.ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลเป็น
ตอบ  ข้อมูลทุติยภูมิ

 8.ส่วนสูงของเพื่อนที่ถามจากเพื่อนแต่ล่ะคนเป็น
ตอบ  ข้อมูลเชิงปริมาณ

9.ผลของการลงทะเบียนเป็น
ตอบ  ข้อมูลทุติยภูมิ

10.กราฟแสดงจำนวนนิสิตในห้องเรียนวิชาจัดการสารสนเทศยุคใหม่ในชีวิตประจำวัน Section วันอังคารเป็น
ตอบ  ข้อมูลปฐมภูมิ